Skip to main content

Posts

สมาชิกนักศึกษา มหาลัยวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยี สาขา ไฟฟ้าอุตสาหกรรม(ต่อเนื่อง) ห้อง A

  รายชื่อสมาชิกในห้องเรียน ลำดับที่                                    รายชื่อ                                                                ชื่อเล่น                                                000                              อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค                                                   อาจารย์ปาล์ม        001                               นาย  สุรพิชญ์ ศรีสุวรรณ                                                               ชาย 002                               นาย  สันหวัช  เพร็ชรสวัสดิ์                                                  โจ 004                            นาย อาดีนัน โสธามาต                                                       ดีนจอ 005                              นาย นัฐกิตย์ อ่อนยัง                                                           ปิน   006                              นาย ปฏิพัทธ์ หนูน้อย                                                         อิ้งค์ 007                              นาย บัสซัมร์ เตะมัน                                       
Recent posts
  หลักการทำงานและการวิเคราะห์กลไกของสายพานลำเลียง สายพานลำเลียงประกอบด้วยเฟรมตรงกลางและลูกกลิ้งลำเลียงอุปกรณ์ tensioning และใช้สายพานลำเลียงเป็นฉุดและสมาชิกแบริ่งในการขนส่งต่อเนื่องกระจายวัสดุหรือบทความเสร็จแล้ว สายพานลำเลียงเป็นเครื่องขับเคลื่อนแรงเสียดทานที่ขนส่งวัสดุในลักษณะต่อเนื่อง มันสามารถฟอร์มกระบวนการจากให้อาหารจุดไปยังจุดสุดท้ายปฏิบัติบนบรรทัดลำเลียงลำเลียงวัสดุ สายพานลำเลียงสามารถดำเนินการขนส่งของเสียวัสดุตลอดจนการขนส่งของสินค้าแต่ละรายการ นอกเหนือจากการจัดการวัสดุบริสุทธิ์ มันยังสามารถใช้ร่วมกับความต้องการของกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในฟอร์มบรรทัดไหลเป็นจังหวะ ดังนั้น สายพานลำเลียงถูกใช้อย่างกว้างขวางในกิจการอุตสาหกรรมที่ทันสมัย สายพานลำเลียงใช้สำหรับแนวนอน หรือแนวโน้มการขนส่งในใต้ดินถนนเหมือง เหมืองดินระบบขนส่ง เปิดบ่อเหมือง และพืชมุ่งเน้น โครงสร้างสายพานลำเลียง: สายพานลำเลียงประกอบด้วยอุปกรณ์สำหรับขับรถ เบรก การปรับความตึง กลับ โหลด ขน และทำความสะอาด ลูกกลิ้ง ลูกกลิ้ง และสายพานลำเลียง สายพานลำเลียง: นิยมใช้เป็นสายพานยางและเข็มขัดพลาสติก ยางรัดเหมาะสำหรั
  หุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม นวัตกรรมหุ่นยนต์ที่ใช้ในโรงงาน ไม่ว่าจะโรงงานใหญ่หรือเล็ก ถ้าหากต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนในระยะยาว อย่างไรก็หนีไม่พ้นการใช้หุ่นยนต์ ซึ่งนวัตกรรมหุ่นยนต์ในโรงงานจะมีดังนี้ หุ่นยนต์อเนกประสงค์ หุ่นยนต์อเนกประสงค์ในโรงงานโดยส่วนมากจะถูกพัฒนามาเป็น “แขน” หุ่นยนต์เป็นหลัก ทั้งเพื่อหยิบจับส่งต่องานได้อย่างไหลลื่นแล้ว ยังสามารถติดตั้งอุปกรณ์เพื่อทำงานอื่นๆ เช่น การประกอบชิ้นงานละเอียด งานตรวจสอบต่างๆ     โดยทั่วไปแล้วหุ่นยนต์อเนกประสงค์จะถูกสร้างมาเพื่อสามารถใช้งานในพื้นที่จำกัดได้ดี น้ำหนักเบา ทนต่อสภาพแวดล้อม เช่นหุ่นยนต์ Nachi MZ07 ที่ใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อย และทำงานได้รวดเร็ว ยืดหยึ่น ตัวเครื่องป้องกันฝุ่นและหยดน้ำเหมาะสำหรับการทำงานในพื้นที่แคบ ยิ่งไปกว่านั้นยังรองรับการทำงานระบบ Automation ทำให้ง่ายต่อการออกคำสั่งแม้ว่าจะเป็นงานละเอียดขนาดไหนก็ตาม หุ่นยนต์ประกอบชิ้นงานหรือชิ้นส่วน รถยนต์ การประกอบ โคบอทมีบทบาทสำคัญในโรงงานผลิตรถยนต์หลายแห่ง นั่นรวมไปถึงการประกอบชิ้นส่วน หุ่นยนต์อัตโนมัติสามารถจัดการกับงานที่ซ้ำซากจำเจในสายการผลิต

เครื่องจักร nc cnc dnc

นาย ณัชพล แก้วถาวร 646715035 เครื่องจักร nc cnc dnc  เครื่องจักรNC   ย่อมาจาก Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ NC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. ระบบ NC มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ        1.ชุดคำสั่ง (Programmed) คือคำสั่งในแต่ละขั้นตอนเพื่อกำหนดให้เครื่องจักร NC ทำงานตามที่เราต้องการ โดยที่ชุดคำสั่งนี้จะถูกสร้างขึ้นในลักษณะของตัวเลข ตัวอักษรสัญลักษณฺ์ต่างๆ แล้วเก็บไว้ในเทปกระดาษที่เจาะรู เมื่อจะนำไปใช้งานก็จะใช้เครื่องอ่านเทปเพื่อแปลรหัสคำสั่งให้ทำงานตามขั้นตอน.        2.หน่วยควบคุมการทำงานของเครื่องหรือเอ็มซียู (MCU : Machine Control Unit) คือส่วนที่ทำหน้าที่อ่านและตีความหมายของคำสั่งเ